นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เผยถึงผลการศึกษาวิจัยและประเมินศักยภาพของมันสำปะหลังในการดูดซับก๊าซเรือนกระจกโดยเฉพาะการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และการกักเก็บคาร์บอนภายในส่วนต่างๆของต้นมันสำปะหลัง 26 สายพันธุ์/พันธุ์ โดย ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง พบว่า ในช่วงเช้าจะมีความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอยู่ระหว่าง 400-460 ppm แต่เมื่อสภาพอากาศมีความเข้มแสงเริ่มสูงกว่า 200 µmol PPF m-2s-1 มันสำปะหลังเริ่มมีอัตราการสังเคราะห์แสงสุทธิเพิ่มขึ้น และเมื่อความเข้มแสงสูงกว่า 800 µmol PPF m-2s-1 (ประมาณ 08.00 น.) จะทำให้ใบมันสำปะหลังมีอัตราการสังเคราะห์แสงสุทธิสูงขึ้นอย่างเด่นชัด ส่งผลให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เหนือแปลงปลูกมันสำปะหลังจะลดลงเหลือ 300-350 ppm
เนื้อหาพิเศษเฉพาะสมาชิกหนังสือพิมพ์เท่านั้น
หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
เนื้อหาครบทุกข่าว ทุกคอลัมน์
ทดลองอ่านฟรี 1 วัน
- ครบทุกข่าว ทุกคอลัมน์ จากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐรายวัน ฉบับพิมพ์
- ประสบการณ์การอ่านแบบเปิดหน้าเหมือนหนังสือพิมพ์
- อ่านข่าวและคอลัมน์เด่นในรูปแบบออนไลน์ แบบไม่มีโฆษณา